Saturday, May 23, 2020

บทที่ 2 สถิติขั้นพื้นฐาน

บทที่ 2 สถิติขั้นพื้นฐาน

การบรรยายหรือการอธิบายลักษณะต่างๆ ของข้อมูลเป็นขั้นตอนขั้นต้น  ที่จะทำให้เกิด ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่สำคัญ เช่น จำนวนข้อมูล ความถี่ ตำแหน่งข้อมูล สัดส่วน ร้อยละ ค่าวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม)การกระจายของข้อมูล (ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน ) การแจกแจง ความถี่ของข้อมูล การสำรวจลักษณะ ของข้อมูล การสร้างตารางจร เป็นต้น การวิเคราะห์ข้อมูลแจกแจงความถี่ การบรรยายข้อมูลขั้นพื้นฐานสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพหรือข้อมูลมาตรานามบัญญัติและ มาตราเรียงอันดับที่นิยมใช้กันมาก คือ การนับจำนวนข้อมูลและร้อยละของข้อมูลในแต่ละกลุ่มหรือ ระดับ เป็นต้น และแบ่งการแจกแจงความถี่ของข้อมูลได้ 2 แบบ คือ 1. การแจกแจงความถี่ทางเดียว การแจกแจงของข้อมูลตามลักษณะที่สนใจเพียงปัจจัยเดียวเท่านั้น เช่น การแจกแจง ข้อมูลจำแนกตามเพศ การแจกแจงข้อมูลจำแนกตามสถานภาพ เป็นต้น เช่น

ตารางที่ 2.1 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินจ าแนกตามเพศ
เพศ จ านวน ร้อยละ ชาย 142 39.4 หญิง 218 60.6 รวม 360 100.0


2. การแจกแจงความถี่หลายทาง การแจกแจงของข้อมูลตามลักษณะที่สนใจมากกว่าหนึ่งปัจจัย เช่น การแจกแจงข้อมูล จำแนกตามเพศและระดับการศึกษา การแจกแจงข้อมูลจำแนกตามระดับการศึกษาและระดับรายได้ เป็นต้น เช่น ตารางที่ 2.2 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกตามเพศ และระดับความเห็นต่อ การวางแผนฝึกอบรมแก่สมาชิกผู้ใช้น้ า เพศ การวางแผนฝึกอบรมแก่สมาชิกผู้ใช้น้ า รวม ไม่เห็นด้วย อย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วย อย่างยิ่ง ชาย 2 29 40 7 78 100.0% 48.3% 74.1% 70.0% 61.9% หญิง 0 31 14 3 48 0.0% 51.7% 25.9% 30.0% 38.1% รวม 2 60 54 10 126 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%

การวิเคราะห์การแจกแจงความถี่ทางเดียว เรียกข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล รปม.xls และน าข้อมูลเข้าโดยเริ่มจาก Data  Import data  from Excel, Access …. มีขั้นตอนดังภาพ ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลส าหรับน าข้อมูลเข้าดังภาพ กดปุ่ม จะได้แหล่งของแฟ้มข้อมูลดังภาพ


ขั้นที่ 3 เลือกการค านวณร้อยละจาก Compute Percentages ในแนว - แนวแถว (Row percentages) - แนวสดมถ์ (Column percentages) - รวม (Percentages of total) - ไม่ค านวณร้อยละ (No percentages) ขั้นที่ 4กดปุ่ม จะได้ผลลัพธ์ดังนี้ > .Table <-xtabs data="รปม)" income="" sex=""> .Table income sex 10,001 -15,000 บาท 15,001 บาท ขึ้นไป 5,001 -10,000 บาท ไม่เกิน 5,000 บาท ชาย 72 26 81 33 หญิง 38 18 59 25 > rowPercents(.Table) # Row Percentages income sex 10,001 -15,000 บาท 15,001 บาท ขึ้นไป 5,001 -10,000 บาท ไม่เกิน 5,000 บาท Total Count ชาย 34.0 12.3 38.2 15.6 100.1 212 หญิง 27.1 12.9 42.1 17.9 100.0 140 จากผลลัพธ์สรุปเป็นตารางได้ดังน


ตารางที่ 2.4จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินจ าแนกตามเพศและระดับรายได้ การวิเคราะห์แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การน าเสนอข้อมูลหรือการสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่สนใจ เช่น ระดับความพึงพอใจหรือระดับ ความเห็น เพื่อประกอบการตัดสินใจจ าเป็นต้องทราบภาพรวมของ ระดับความพึงพอใจหรือระดับ ความคิดเห็นว่าเป็นอย่างไรบ้าง และเรียกภาพรวม นี้ว่าค่ากลาง ฉะนั้นการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง คือ การหาค่ากลางเพื่อเป็นค่าแทนข้อมูลทั้งหมด เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม เป็นต้น โดยมี สถิติที่ส าคัญ คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือมัชฌิมเลขคณิต คือ ผลรวมของค่าสังเกตหารด้วยจ านวนค่าสังเกต ทั้งหมด การหาค่าเฉลี่ยแบ่งออกเป็นสองกรณี คือ 1. การหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ การหาค่าเฉลี่ยของประชากร (Population mean) N X N i 1  i  μ  เมื่อ N คือ จ านวนประชากร Xi คือ ค่าสังเกตค่าที่ i


2. การหาค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (Sample mean) n X X n i 1  i   เมื่อ n คือ จ านวนตัวอย่าง Xi คือ ค่าสังเกตค่าที่ i ขั้นตอนการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ขั้นที่ 1 เลือกรายการและค าสั่งโดยเริ่มจาก Statistics  Summaries Numerical summaries … มี ขั้นตอนดังภาพ ขั้นที่ 2 เลือกตัวแปรที่ต้องการหาค่าเฉลี่ย (ต้องเป็นตัวแปรเชิงปริมาณเท่านั้น เช่น ระดับความเห็น เป็น ต้น


ขั้นที่ 3กดปุ่ม จะได้ผลลัพธ์ดังนี้ > numSummary(รปม[,c("A1", "A2", "A3", "A4")], statistics=c("mean"), quantiles=c(0,.25,.5,.75,1)) mean n A1 4.215909 352 A2 4.338068 352 A3 4.309659 352 A4 4.534091 352 ตารางที่ 2.6 ค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจด้านกระบวนการและขั้นตอนการให้บริการ (n=352) ด้านกระบวนการ/ขั้นตอน ค่าเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจ 1. มีระยะเวลาการให้บริการที่เหมาะสม 4.22 มาก 2. การให้บริการเป็นระบบและขั้นตอนที่ชัดเจน 4.33 มาก 3. มีการพัฒนางานบริการทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ 4.31 มาก 4. มีการให้บริการเป็นไปตามล าดับ ก่อน-หลัง อย่างยุติธรรม 4.53 มากที่สุด จากขั้นตอนที่ 2ถ้าเลือก Summarize by groups … ท าให้ได้ภาพ

No comments:

Post a Comment